8 วิ ธีช่วยเก็บออม แม้เงินเดือนน้อยก็มีเงินออมได้

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการออมเงิน ฉบับบคนเงินเดือนน้อย แต่อย ากมีเงินออม มีชีวิตที่ไม่ลำบากในอนาคต กับบทความ 8 วิ ธีช่วยเก็บออม แม้เงินเดือนน้อยก็มีเงินออมได้ ไปดูกันว่าเราจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่อให้มีเงินออม

ไม่มีคำว่าสาย สำหรับการทำเรื่องใดๆ ที่ดีกับชีวิตของเราโดยเฉพาะเรื่องการเก็บออมเงิน ถ้ามีใจรักและคิดที่จะลงมือทำแล้วนั้น ไม่ว่าคุณจะเงินเดือน มากหรือเงินเดือนน้อยแค่ไหนก็เก็บเงินได้ทั้งนั้น ทุกอย่ างต้องเริ่มที่ใจ หัดให้นิสัยมีวินัยแล้วลงมือทำ น้อยมากไม่ใช่ประเด็น การลงมือทำวันนี้เดี๋ยวนี้สิสำคัญ ขออย่ าคิดติดลบตัดกำลังใจตัวเองว่า

แหม!! เงินเดือนก็น้อย ห นี้ก็เยอะ ทำงานทั้งเดือนแทบไม่พอใช้ถึงปล า ยเดือน แล้วจะเอาที่ไหน มาเก็บ เปลี่ยนความคิดเสียใหม่ อย่ าปล่อยให้อุปสรรคเหล่านี้มาเป็นตัวขัดขวางความมั่งคั่งของคุณ ไม่ต้องกลัวว่าเงินเดือนน้อย ห นี้เยอะเพราะทุกปัญหามีทางออ กเสมอ มาดูวิธีการออมเงินที่ใครๆ ก็ทำได้แม้เงินเดือนน้อย ห นี้เยอะกันดีกว่า

1 ตั้งเป้าเงินออม

สัญญากับตัวเองไว้ ว่าภายใน 1 ปีจะต้องมีเงินเก็บเท่าไหร่ เพื่อที่จะได้มีแรงจูงใจในการเก็บเงิน โดยอาจจะทำเป็นสมุดจดบันทึกเพื่อให้เห็นพัฒนาการของจำนวนเงินเก็บในแต่ละวัน หรือแต่ละสัปดาห์เพิ่มมากขึ้นแค่ไหนและต้องเก็บเงินอีกเท่าไหร่จึงจะถึงเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ ทำไปเรื่อยๆ ก็จะติดนิสัยรักการออมได้ในที่สุด

2 เริ่มเก็บเงินจากจุดเล็กๆ

ช่วงเริ่มต้นที่เงินเดือนไม่มากและ ยังมีห นี้สินล้นพ้นตัว อาจจะต้องเริ่มเก็บเงินจากสิ่งเล็กๆ ก่อน เช่น เงินเหรียญที่เหลือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน หยอ ดใส่กระปุกออมสินเอาไว้ในทุกๆ วัน หรือเก็บเศษของเงินเดือนในแต่ละเดือน เช่น เงินเดือน 15,650 บาท ให้เก็บเอาไว้ 650 บาท เป็นต้น เป็นการเริ่มต้นออมเงินอย่ างง่ายๆ ที่ไม่ทำให้คุณต้อง ลำบากมากนัก

3 ปรับต ารางการเงินเสียใหม่

สำรวจรายรับรายจ่าย ในแต่ละเดือนเพื่อให้รู้สถานะทางการเงินที่แท้จริง จะได้วางแผนใช้เงินและออมเงินได้เหมาะกับตัวเอง เพราะมีหล า ยคนที่ออมเงิน ไม่ตรงกับสไตล์การใช้ชีวิต ทำให้เสียเงินไปกับเรื่องไม่จำเป็นและเป็นห นี้เพิ่มขึ้น เช่น บอ กว่าให้ออมเงิน 10% ของเงินเดือน ซึ่งถ้าหากคุณมีเงินเดือนประมาณ 1.5 หมื่นบาท แต่มีห นี้เกินกว่า 40% ของเงินเดือน คือ 6,000 บาท เท่ากับเหลือเงินใช้ 9,000 บาท

ซึ่งที่เหลือนี้คุณต้องจ่ายให้กับค่าใช้จ่าย ประจำในแต่ละเดือนอย่ างค่าบ้ าน 3,000 บาท ค่าโทรศัพท์ 600 บาท ค่าน้ำค่าไฟ 800 บาท ส่ งเงินให้ครอบครัว 2,000 บาท รวมๆ แล้วคุณเหลือเงินใช้ทั้งเดือนเพียง 2,600 บาทเท่านั้น ซึ่งเมื่อต้องหักเงินออม 10% ของเงินเดือน ก่อนที่จะใช้จ่ายอย่ างอื่น ก็เท่ากับว่าเงินในแต่ละเดือนของคุณติดลบ และไม่พอใช้แน่นอน และอาจจะต ามมาด้วยการเริ่มต้นเป็นห นี้

และคุณภาพชีวิตในแต่ละวัน ก็ไม่ดีด้วย เพราะต้องประหยัดอย่ างถึงที่สุด ดังนั้นตรวจสอบสถานะทางการเงินของตัวเองก่อนที่จะเริ่มออมเงิน เพื่อจะได้หาวิธีที่เหมาะสมที่สุดกับตัวเอง ค่อยขยับปรับเปลี่ยนแล้วออมไม่ถึง 10% ในตอนแรก เมื่อปรับตัวได้ ลดค่าใช้จ่ายตรงอื่นแล้วจึงค่อยเพิ่มปริมาณไปเรื่อยๆ

4 เปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้เงิน

เมื่อรู้สถานะทางการเงินของตัวเองแล้วก็สำรวจพฤติกรร มของตัวเอง ด้วยเช่นกันว่ามีอะไรที่เป็นอุปสรรคต่อ การเก็บเงิน อย่ างเช่นชอบใช้เงินเกินตัว จนเป็นสาเหตุที่ทำให้มีห นี้สิน มีนิสัยชอบสร้างห นี้ ชอบใช้ของเกินฐานะและเป็นของที่ไม่จำเป็น ซึ่งจะต้องแก้ไขพฤติกรร มเหล่านี้โดยด่วน ตัดทอนการใช้จ่ายบางอย่ างออ กไป

5 แบ่งเงินใช้ให้พอ ดีเป็นวันๆ

เช่น วันละ 350 บาท อย่ าพกเงินติดตัวทีละเยอะๆ แต่ละวันหยิบเงิน มาใช้ แค่จำนวนพอ ดี เพื่อบังคับให้ใช้เงินเท่าที่จำเป็นในจำนวนเงินที่มีอยู่ หล า ยคนเวลา เข้าร้านสะดวกซื้ อ เพราะตั้งใจซื้ อ ของแค่อย่ างเดียว แต่เมื่อเข้าไปในร้านก็อ ดไม่ได้ที่จะหยิบของชิ้นอื่นๆ เพิ่ม ดังนั้นหยิบเงินไปแค่พอซื้ อของที่ต้องการก็พอ

6 จัดการห นี้สินอย่ างเป็นระบบ

อุปสรรคที่สำคัญอย่ างหนึ่ง ของความมั่งคั่งก็คือห นี้สิน จึงต้องจัดการกับปัญหาห นี้สิน ให้เป็นระบบก่อน กั ด ฟั น ใช้ห นี้จำนวนน้อยๆ ก่อน จะได้ลดภาระห นี้สินในเดือนต่อๆ ไปให้ลดน้อยลง เริ่มจากเมื่อได้เงินก้อนใหญ่อย่ างโบนัส หรือเงินจากการทำงานพิเศษ ให้นำมาปิดห นี้สินที่มียอ ดน้อยๆ ก่อน ส่วนห นี้ที่มียอ ดสูงๆ ก็จ่ายเพียงขั้นต่ำไปก่อนเพื่อประคองตัว จากนั้นเมื่อห นี้สินก้อนเล็กๆ หมดไป ก็จะทำให้เหลือเงิน ในแต่ละเดือนเยอะขึ้นและค่อยทยอยจ่ายห นี้ก้อนใหญ่ต่อไป

7 ประหยัดให้มากขึ้น

จากการประหยัด ค่าใช้จ่ายเล็กๆ น้อยๆ เช่น ปิดไฟดวงที่ไม่จำเป็น ประหยัดน้ำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำค่าไฟประจำเดือน ใช้โทรศัพท์แบบเติมเงิน แทนการใช้รายเดือน และใช้เท่าที่จำเป็น ซื้ อ กับข้าวมาทำเอง และทำอาห ารไปกินที่ทำงาน อร่อยแถมยังได้รับประทานอาห ารที่มีประโยชน์อีกด้วย เลือ กซื้ อของลดร าค า แต่ต้องพิจารณาดูแล้วว่าเป็นของที่จำเป็นต้องใช้จริงๆ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้ อของเข้าบ้ านได้อีกเพียบ

8 หารายได้เพิ่ม

ถ้ารายได้น้อยไม่ค่อยพอ กับค่าใช้จ่าย ต้องหารายได้เสริมเพื่อให้มีเงิน มากขึ้น โดยอาจจะเริ่มจากงานเสริมพาร์ตไทม์ช่วงเย็นหลังเลิกงาน หรือช่วงเส า ร์ – อาทิตย์ หากมีความรู้พิเศษเฉพาะทางก็สามารถ รับงานฟรีแลนซ์มาทำได้ เพื่อให้มีเงินเพียงพอ กับค่าใช้จ่าย เสริมสภาพคล่องในแต่ละเดือนให้มากขึ้น

ที่มา p o s t t o d a y, j i n g j a i 9 9 9